เทียบคำสั่งศาลแพ่งต่อการชุ มนุม ปี 2553 , 2557
ชี้ชัดมวลชนกลุ่มไหนสงบ กลุ่มไหนใช้ความรุนแรง
“การที่จำเลยที่ 1ในฐานะนายกรัฐมนตรีและจำเล ยที่ 2 ในฐานะ ผอ.การแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิ น ได้กำกับควบคุม สั่งการให้ พล.อ.อนุพงษ์ เผ่าจินดา หัวหน้าผู้รับผิดชอบในการแก ้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน มีประกาศศูนย์อำนวยการแก้ไข สถานการณ์ฉุกเฉิน เรื่องห้ามการใช้เส้นทางคมน าคมหรือการใช้ยานพาหนะ ฉบับลงวันที่ 13 พ.ค. 2553 และต่อมามีการปฏิบัติการ ตามประกาศฉบับดังกล่าว เพื่อสกัดกั้นมิให้ประชาชนท ี่อยู่นอกพื้นที่การชุมนุมท ั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดเข้ามาสมทบกั บกลุ่มผู้ชุมนุมเดิม บริเวณสี่แยกราชประสงค์นั้น เป็นมาตรการหนึ่งในการสลายก ารชุมนุมเพื่อให้เกิดความสง บสุขในบ้านเมืองไม่กระทบต่อความมั่นคงของรัฐ แล ะไม่ส่งผลเสียหายต่อระบบเศร ษฐกิจของประเทศอัน เป็นอำนาจของฝ่ายบริหารที่จ ำเป็นต้องดำเนินการ แม้การปฏิบัติการดังกล่าวจะ ทำให้ผู้ชุมนุมได้รับความกร ะทบกระเทือนต่อความเป็นอยู่ ตามคำร้องก็อยู่ในมาตรการกา รรักษาความสงบเรียบร้อยประก ารหนึ่ง ซึ่งเป็นอำนาจของฝ่ายบริหาร ศาลจึงมิอาจก้าวล่วงไปพิจาร ณาหรือทบทวนการใช้ดุลพินิจข องฝ่ายบริหารเช่นว่า นั้นได้ ส่วนที่โจทก์ขอให้จำเลยทั้ง สองมีคำสั่งห้ามเจ้าหน้าที่ ใช้อาวุธสงครามต่อ ประชาชนผู้เข้าร่วมชุมนุมนั ้น เห็นว่าข้อเท็จจริงได้ความจ ากนายคารม พลทะกลาง ทนายความโจทก์ว่าเหตุการณ์ใ ช้อาวุธต่อบุคคลที่ระบุในคำ ร้องไม่อาจยืนยันได้ ว่าเป็นการกระทำของฝ่ายใด ประกอบกับ การที่เจ้าหน้าที่ดำเนินการ สลายการชุมนุมเพื่อให้เกิดค วามสงบสุขในบ้านเมือง โดยมีอาวุธติดตัว ซึ่งหากมีความจำเป็นก็สามาร ถนำมาใช้เพื่อระงับยับยั้งไ ด้ไปตามสถานการณ์ หรือเหตุการณ์เฉพาะหน้า หรือป้องกันตนเองได้ อันเป็นไปตามหลักสากล กรณียังไม่มีเหตุผลอันสมควร และเพียงพอที่จะนำวิธีการคุ ้มครองชั่วคราวก่อน พิพากษาตามที่โจทก์ขอมาใช้บ ังคับได้ จึงมีคำสั่งให้ยกคำร้อง”
คำสั่งศาลแพ่ง 14 พฤษภาคม 2553
ศาลแพ่งพิพากษาว่า การออก พ.ร.ก. ฉุกเฉินเป็นอำนาจของฝ ่ายบริหาร แต่ผู้ชุมนุมก็ชุมนุมโดยสัน ติปราศจากอาวุธตามที่ศาล รัฐธรรมนูญเคยวินิจฉัยไว้แล ้ว ดังนั้นศาลแพ่งจึงสั่งห้าม ศรส. ออกประกาศข้อกำหนดตาม พ.ร.ก. ฉุกเฉิน 9 ข้อ คือ
ชี้ชัดมวลชนกลุ่มไหนสงบ กลุ่มไหนใช้ความรุนแรง
“การที่จำเลยที่ 1ในฐานะนายกรัฐมนตรีและจำเล
คำสั่งศาลแพ่ง 14 พฤษภาคม 2553
ศาลแพ่งพิพากษาว่า การออก พ.ร.ก. ฉุกเฉินเป็นอำนาจของฝ
1. ห้ามส่งเจ้าหน้าที่ใช้กำล ังเข้าสลายการชุมนุมของโจทก ์
2. ห้ามยึดอายัดเคมีภัณฑ์
3. ห้ามออกคำสั่งรื้อถอนทำลา ยสิ่งกีดขวาง
4. กรณีซื้อขาย ใช้ และครอบครองเครื่องอุปโภคบร ิโภคไม่ต้องขออนุญาตเจ้าหน้ าที่
5. ห้ามสั่งปิดการจราจรและเส ้นทางคมนาคม
6. ห้ามจำเลยสั่งห้ามไม่ให้ช ุมนุมตั้งแต่5คนขึ้นไป
7. ห้ามจำเลยสั่งห้ามใช้เส้น ทางการจราจร
8. ห้ามจำเลยสั่งห้ามเข้าอาค าร และ
9. ห้ามสั่งให้อพยพหรือห้ ามไม่ให้เข้าออกในพื้นที่ชุ มนุม
คำสั่งศาลแพ่ง 19 กุมภาพันธ์ 2557ดูเพิ่มเติม
คำสั่งศาลแพ่ง 19 กุมภาพันธ์ 2557ดูเพิ่มเติม
— กับ Arnon Sanonoi
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น