เรื่องที่เป็นข่าวติดต่อกันมาหลายวันจนกระทั่งได้มีการดำเนินคดีทางกฎหมายขึ้น นั่นก็คือ เรื่องกบฏแบ่งแยกดินแดน ผมขอทวนให้พี่น้องฟังว่าเข้าพูดเรื่องครั้งแรกที่โคราช ประชุมเสร็จ ไอ้ณัฐวุฒิ จตุพร ธิดา ก็ออกมาแถลงเจื้อยแจ้วว่า ยิ่งลักษณ์ จะต้องไม่...ลาออก ไม่ต้องสนใจศาลและพวกเขาก็จะร่วมสนับสนุน ยิ่งลักษณ์ เต็มที่ เขาพูดถึงแม้แต่มีกองกำลังติดอาวุธนั้นเมื่อถึงวันเวลาเขาจะยกมา กทม.มาทำสงครามกลางเมือง มาชิงเมืองหลวง
ถ้าเขาสู้ไม่ได้เขาก็จะแยกประเทศ แล้วถ้ายังสู้ไม่ได้อีกเขาก็จะไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นที่ต่างประเทศ แล้วหลังจากนั้นเขาก็ติดป้ายตาม จังหวัดต่างๆ ที่ระบุชัดเลยว่าเขาต้องการแบ่งแยกประเทศ ที่เขาเอาไปติดที่พิษณุโลกเขาบอกว่า"ประเทศนี้ไม่ความยุติธรรม กูขอแยกเป็นประเทศล้านนา" คนที่พิษณุโลกเขาไม่ยอมให้มีการแบ่งแยกประเทศก็ขึ้นป้ายบอกว่า "กูไม่ยอมให้แบ่งแยกประเทศ"ก็ตอบโต้กันไป
วันนี้คนสั่งการเรื่องนี้ถูกดำเนินคดีครับ เมื่อวานนี้ครับ พลโท ปรีชา จันทร์โอชา ให้เจ้าหน้าที่ไปแจ้งความกับ ตำรวจให้ดำเนินคดีกับพวกที่จะแบ่งแยกประเทศ เรื่องนี้พี่น้องครับ ตามปกติที่มีคนคิดเป็นกบฏต่อแผ่นดิน มันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล หน้าที่ของ ตำรวจที่มีหน้าที่ต้องจัดการ แต่ในกรณีนี้รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ไม่จัดการอะไร เพราะ พวกที่ทำมันเป็นสมุนบริวารของมัน
เมื่อไม่มีคนจัดการ ทหารจึงต้องออกมาดำเนินการ และท่านก็ได้อธิบายว่าที่ต้องให้ดำเนินคดี เพราะ คนเหล่านี้ทำความผิดตามมาตรา 113 คือ ต้องการแบ่งแยกอาณาจักร ต้องระวังโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต และผิดมาตรา 114 ที่มีคนที่มีการเตรียมอาวุธ และยุยงเพื่อให้เกิดการกบฏก็มีความผิดด้วย ที่นี้ก็เป็นเรื่องสิครับออกมาแก้ตัวกันใหญ่เลยว่า ที่พูดนั้นเป็นแค่วาทกรรม ไม่ได้มีการคิดที่จะแบ่งแยกประเทศ
พี่น้องเห็นไหมครับหัวหน้าพรรคเพื่อไทย รมว.มหาดไทย มีหน้าที่ต้องไปดำเนินคดีไปปราบปราม แล้วก็มาทำเป็นหัวหมอพูดว่านี่ไม่ได้ยุนะ นี่แกคงคิดว่าเราพี่น้อง ปชช.คนไทยฟังแกไม่รู้เรื่องหรือยังไง แล้วจะบอกให้ว่าที่มันจะเกิดสงครามกลางเมือง
ผมก็จะบอกให้ว่าพวกมึงนั่นแหละ และผมจะบอกให้ว่าถ้าวันไหนที่ยกกำลังมาผมก็จะพาพี่น้องกลับบ้าน เพราะพวกเรายึดหลักสู้แบบอหิงสา เราสู้แบบผู้ดี แต่พี่น้องอย่าตกใจไปว่าแล้วพวกมันจะไม่ยึดประเทศไปเหรอ เพราะเรามีคนที่เขากินภาษีประชาชน พร้อมจัดการพวกนี้อยู่แล้ว รัฐบาลอาจจะไม่ทำ ตำรวจเลวๆบางคนก็อาจไม่ทำ แต่ทหารเขาไม่ปล่อยให้พวกมันมาทำอะไรพวกเราหรอกครับ เขาต้องทำหน้าที่ของเขาในการที่จะออกมาปกป้องประเทศ และการที่ พลเอกปรีชา จันทร์โอชา ออกมาฟ้องนี่ เขาแสดงให้เห็นว่านี่เตือนแล้ว แต่ถ้ายังไม่เชื่อก็ลองมาดูว่าพุงหรือกระสุนมันจะเหนียวกว่ากันถ้ายังไม่เชื่อก็ลองมาดูว่าพุงหรือกระสุนมันจะเหนียวกว่ากันSee More
ถ้าเขาสู้ไม่ได้เขาก็จะแยกประเทศ แล้วถ้ายังสู้ไม่ได้อีกเขาก็จะไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นที่ต่างประเทศ แล้วหลังจากนั้นเขาก็ติดป้ายตาม จังหวัดต่างๆ ที่ระบุชัดเลยว่าเขาต้องการแบ่งแยกประเทศ ที่เขาเอาไปติดที่พิษณุโลกเขาบอกว่า"ประเทศนี้ไม่ความยุติธรรม กูขอแยกเป็นประเทศล้านนา" คนที่พิษณุโลกเขาไม่ยอมให้มีการแบ่งแยกประเทศก็ขึ้นป้ายบอกว่า "กูไม่ยอมให้แบ่งแยกประเทศ"ก็ตอบโต้กันไป
วันนี้คนสั่งการเรื่องนี้ถูกดำเนินคดีครับ เมื่อวานนี้ครับ พลโท ปรีชา จันทร์โอชา ให้เจ้าหน้าที่ไปแจ้งความกับ ตำรวจให้ดำเนินคดีกับพวกที่จะแบ่งแยกประเทศ เรื่องนี้พี่น้องครับ ตามปกติที่มีคนคิดเป็นกบฏต่อแผ่นดิน มันเป็นหน้าที่ของรัฐบาล หน้าที่ของ ตำรวจที่มีหน้าที่ต้องจัดการ แต่ในกรณีนี้รัฐบาล ยิ่งลักษณ์ ไม่จัดการอะไร เพราะ พวกที่ทำมันเป็นสมุนบริวารของมัน
เมื่อไม่มีคนจัดการ ทหารจึงต้องออกมาดำเนินการ และท่านก็ได้อธิบายว่าที่ต้องให้ดำเนินคดี เพราะ คนเหล่านี้ทำความผิดตามมาตรา 113 คือ ต้องการแบ่งแยกอาณาจักร ต้องระวังโทษประหารชีวิตหรือจำคุกตลอดชีวิต และผิดมาตรา 114 ที่มีคนที่มีการเตรียมอาวุธ และยุยงเพื่อให้เกิดการกบฏก็มีความผิดด้วย ที่นี้ก็เป็นเรื่องสิครับออกมาแก้ตัวกันใหญ่เลยว่า ที่พูดนั้นเป็นแค่วาทกรรม ไม่ได้มีการคิดที่จะแบ่งแยกประเทศ
พี่น้องเห็นไหมครับหัวหน้าพรรคเพื่อไทย รมว.มหาดไทย มีหน้าที่ต้องไปดำเนินคดีไปปราบปราม แล้วก็มาทำเป็นหัวหมอพูดว่านี่ไม่ได้ยุนะ นี่แกคงคิดว่าเราพี่น้อง ปชช.คนไทยฟังแกไม่รู้เรื่องหรือยังไง แล้วจะบอกให้ว่าที่มันจะเกิดสงครามกลางเมือง
ผมก็จะบอกให้ว่าพวกมึงนั่นแหละ และผมจะบอกให้ว่าถ้าวันไหนที่ยกกำลังมาผมก็จะพาพี่น้องกลับบ้าน เพราะพวกเรายึดหลักสู้แบบอหิงสา เราสู้แบบผู้ดี แต่พี่น้องอย่าตกใจไปว่าแล้วพวกมันจะไม่ยึดประเทศไปเหรอ เพราะเรามีคนที่เขากินภาษีประชาชน พร้อมจัดการพวกนี้อยู่แล้ว รัฐบาลอาจจะไม่ทำ ตำรวจเลวๆบางคนก็อาจไม่ทำ แต่ทหารเขาไม่ปล่อยให้พวกมันมาทำอะไรพวกเราหรอกครับ เขาต้องทำหน้าที่ของเขาในการที่จะออกมาปกป้องประเทศ และการที่ พลเอกปรีชา จันทร์โอชา ออกมาฟ้องนี่ เขาแสดงให้เห็นว่านี่เตือนแล้ว แต่ถ้ายังไม่เชื่อก็ลองมาดูว่าพุงหรือกระสุนมันจะเหนียวกว่ากันถ้ายังไม่เชื่อก็ลองมาดูว่าพุงหรือกระสุนมันจะเหนียวกว่ากันSee More
กรณี นส."ยิ่งลักษณ์" ออกมาพูดเชิงตำหนิกองทัพที่ไปแจ้งความดำเนินคดีกับผู้เกี่ยวข้องกับแนวคิด "สปป.ล้านนา"ว่า "ขอให้มีการตรวจสอบทุกกลุ่มทุกฝ่ายเท่าเทียมกัน ถ้าเน้นกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งก็จะเกิดความน้อยเนื้อตํ่าใจ สิ่งที่จะแก้ได้ดีที่สุดคือการให้ความ...ยุติธรรม เสมอภาค และเท่าเทียมเพื่อไม่ให้คนรู้สึกว่ามีความแตกต่าง" นั้น
ขอให้ความเห็นว่าเรื่องการแบ่งแยกดินแดนเป็นเรื่องใหญ่ นอกจากเป็นหน้าที่คนไทยที่รักชาติทุกคนต้องขัดขวางต่อต้านแล้วก็ยังเป็นหน้าที่ของคนเป็นรัฐบาลรวมทั้งฝ่ายความมั่นคงคือกองทัพด้วย เพียงแต่เรื่องนี้เมื่อรัฐบาลมิได้ออกมาดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นรูปธรรม จึงเป็นหน้าที่กองทัพในฐานะหน่วยงานรักษาความมั่นคงที่จะออกมาดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งภายใต้กรอบกฎหมายได้ หากถามว่าแล้วกรณีแนวคิดแบ่งแยกดินแดนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กองทัพได้ทำอะไรหรือไม่เพื่อจะได้เปรียบเทียบกัน ในฐานะอดีต สส. ซึ่งได้ติดตามสถานการณ์มาโดยใกล้ชิด ก็จะเห็นได้ว่ากองทัพมิใช่ดำเนินการแค่การแจ้งความแต่ได้ดำเนินการถึงขั้น "ปราบปราม" มาโดยลำดับ เพียงแต่ความไม่สงบที่ยังดำรงอยู่จะเกิดจากเหตุใด ฝ่ายความมั่นคงหรือนโยบายของรัฐบาลจะไม่ขอพูดในที่นี้
แต่ที่ต้องพูดคือ..กรณีคำสัมภาษณ์ของ นส.ยิ่งลักษณ์ ซึ่งถือว่าพูดได้ถูกต้องทุกอย่าง แต่คนแรกที่ต้องทำอย่างที่พูดให้ทุกฝ่ายได้เห็นเป็นตัวอย่างคือ ตัวนส.ยิ่งลักษณ์เอง เพราะที่เป็นปัญหาคือการที่ นส.ยิ่งลักษณ์ "พูดอย่างทำอย่าง" นส.ยิ่งลักษณ์เป็นผู้มีพฤติกรรมที่ทำให้คนไทยรู้สึกไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาค ไม่ได้รับความยุติธรรม จนมีคนไทยจำนวนมากรู้สึกว่ามีความแตกต่าง ที่เห็นชัดเจนคือหลายปีที่ผ่านมา จังหวัดใดไม่เลือกพรรคของ นส.ยิ่งลักษณ์ ก็จะไม่ให้งบประมาณ เช่นกรณีศูนย์การประชุมแห่งชาติภูเก็ต เป็นต้น ไม่ว่า "ศาล" หรือ "องค์กรอิสระ" ใดหากไม่ตัดสินพิพากษาตามใจรัฐบาลหรือฝ่ายสนับสนุนรัฐบาล ก็จะถูกข่มขู่ คุกคาม ตอบโต้ด้วยความรุนแรงในหลายรูปแบบหลายกรณี โดยที่ นส.ยิ่งลักษณ์มิได้แสดงท่าทีห้ามปราม ที่สำคัญการหาตัวคนร้ายที่ก่อเหตุรุนแรงกับฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลล้วนแต่ดำเนินการไปด้วยความล่าช้า จนถึงวันนี้รัฐบาลนส.ยิ่งลักษณ์ยังไม่สามารถจับตัวคนร้ายมาดำเนินคดีให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม ขณะที่หากฝ่ายสนับสนุน นส.ยิ่งลักษณ์เป็นผู้ถูกกระทำ กลับสามารถจับกุมตัวผู้เกี่ยวข้องมาดำเนินคดีได้อย่างรวดเร็วทันควัน
นส.ยิ่งลักษณ์จึงต้องหันมาทบทวนตัวเอง เลิกพฤติกรรม "มือถือสาก ปากถือศีล "หากประสงค์ให้สิ่งที่พูดเกิดขึ้นได้จริงภายใต้การบริหารของ นส.ยิ่งลักษณ์ เพื่อพิสูจน์ว่าที่พูดนั้น ไม่ใช่แค่ "วาทกรรมตำหนิกองทัพ"
ขอให้ความเห็นว่าเรื่องการแบ่งแยกดินแดนเป็นเรื่องใหญ่ นอกจากเป็นหน้าที่คนไทยที่รักชาติทุกคนต้องขัดขวางต่อต้านแล้วก็ยังเป็นหน้าที่ของคนเป็นรัฐบาลรวมทั้งฝ่ายความมั่นคงคือกองทัพด้วย เพียงแต่เรื่องนี้เมื่อรัฐบาลมิได้ออกมาดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นรูปธรรม จึงเป็นหน้าที่กองทัพในฐานะหน่วยงานรักษาความมั่นคงที่จะออกมาดำเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งภายใต้กรอบกฎหมายได้ หากถามว่าแล้วกรณีแนวคิดแบ่งแยกดินแดนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กองทัพได้ทำอะไรหรือไม่เพื่อจะได้เปรียบเทียบกัน ในฐานะอดีต สส. ซึ่งได้ติดตามสถานการณ์มาโดยใกล้ชิด ก็จะเห็นได้ว่ากองทัพมิใช่ดำเนินการแค่การแจ้งความแต่ได้ดำเนินการถึงขั้น "ปราบปราม" มาโดยลำดับ เพียงแต่ความไม่สงบที่ยังดำรงอยู่จะเกิดจากเหตุใด ฝ่ายความมั่นคงหรือนโยบายของรัฐบาลจะไม่ขอพูดในที่นี้
แต่ที่ต้องพูดคือ..กรณีคำสัมภาษณ์ของ นส.ยิ่งลักษณ์ ซึ่งถือว่าพูดได้ถูกต้องทุกอย่าง แต่คนแรกที่ต้องทำอย่างที่พูดให้ทุกฝ่ายได้เห็นเป็นตัวอย่างคือ ตัวนส.ยิ่งลักษณ์เอง เพราะที่เป็นปัญหาคือการที่ นส.ยิ่งลักษณ์ "พูดอย่างทำอย่าง" นส.ยิ่งลักษณ์เป็นผู้มีพฤติกรรมที่ทำให้คนไทยรู้สึกไม่เท่าเทียม ไม่เสมอภาค ไม่ได้รับความยุติธรรม จนมีคนไทยจำนวนมากรู้สึกว่ามีความแตกต่าง ที่เห็นชัดเจนคือหลายปีที่ผ่านมา จังหวัดใดไม่เลือกพรรคของ นส.ยิ่งลักษณ์ ก็จะไม่ให้งบประมาณ เช่นกรณีศูนย์การประชุมแห่งชาติภูเก็ต เป็นต้น ไม่ว่า "ศาล" หรือ "องค์กรอิสระ" ใดหากไม่ตัดสินพิพากษาตามใจรัฐบาลหรือฝ่ายสนับสนุนรัฐบาล ก็จะถูกข่มขู่ คุกคาม ตอบโต้ด้วยความรุนแรงในหลายรูปแบบหลายกรณี โดยที่ นส.ยิ่งลักษณ์มิได้แสดงท่าทีห้ามปราม ที่สำคัญการหาตัวคนร้ายที่ก่อเหตุรุนแรงกับฝ่ายตรงข้ามรัฐบาลล้วนแต่ดำเนินการไปด้วยความล่าช้า จนถึงวันนี้รัฐบาลนส.ยิ่งลักษณ์ยังไม่สามารถจับตัวคนร้ายมาดำเนินคดีให้เห็นได้อย่างเป็นรูปธรรม ขณะที่หากฝ่ายสนับสนุน นส.ยิ่งลักษณ์เป็นผู้ถูกกระทำ กลับสามารถจับกุมตัวผู้เกี่ยวข้องมาดำเนินคดีได้อย่างรวดเร็วทันควัน
นส.ยิ่งลักษณ์จึงต้องหันมาทบทวนตัวเอง เลิกพฤติกรรม "มือถือสาก ปากถือศีล "หากประสงค์ให้สิ่งที่พูดเกิดขึ้นได้จริงภายใต้การบริหารของ นส.ยิ่งลักษณ์ เพื่อพิสูจน์ว่าที่พูดนั้น ไม่ใช่แค่ "วาทกรรมตำหนิกองทัพ"
ถ้าพวกแกนนำเสื้อแดงและหัวหน้ามัน อยู่ฝ่ายความมั่นคงของประเทศ อะไรจะเกิดขึ้นกับคนดีๆของสังคมนี้ ถ้าคนไทยรักชาติคงไม่อยากให้ประเทศสุ่มเสื่ยงกับคนอันธพาลและชอบใชักำลังคุมความมั่นคงของประเทศ มีกรณีที่เกิดขึ้นแล้ว เช่น แบ่งแยกประเทศ มีเขมรมาฆ่าคนไทย มีการปลุกระดมให้คนมาทำร้ายกัน มีการเผาทำลายบ้านเมือง มีการใช้อาวุธกับฝ่ายตรงข้ามนับร้อยครั้งในช่วง 5 ปี มีการข่มขู่องค์กรอิสระ ศาล ทหาร อัยการ และ ปปช. กกต. ประชาชนที่ถูกทำร้ายทรัพย์สินและร่างกาย เช่น ตระกูลศรีวิกรณ์ (โดนปาระเบิดและยิงกราดหลังจากเป่านกหวีด แตงโมถูกทำลายรถยนต์หลังขึ้นเวที สนธิลิ้มทองกุลถูกไล่ยิง มวลชนเสื้อเหลือง เอกยุทธถูกฆ่าปริศนาหลังจากวิจารณ์นายก เจ้าหน้าที่องค์กรต่อต้านคอร์รัปชั่นถูกปาระเบิด ธนาคารกรุงเทพ (อ้างว่าสนับสนุนถูกปาระเบิดสำนักงาน) เจ้าหน้าที่ศาลถูกทำร้ายแขนหักที่เชียงใหม่ นศ. รามคำแหงถูกปิดล้อม ทำร้าย และฆ่าตาย คลังน้ำมันถูกยิงเอ็ม 79 วัดพระแก้วถูกยิงระเบิดแต่พลาด ศาลอาญาถูกเอ็ม 61 บ้านอภฺิสิทธิ์ บ้านสุขุมพันธ์ โดนระเบิด พรรคประชาธิปัตย์ ถูกระเบิด ประชาธิปัตย์ปราศัยหาเสียงเชียงใหม่เกือบถูกทำร้ายร่างกายเขวี้ยงเก้าอี้ จนเลิกปราศัย กปปส. ตราดถูกกราดยิง และราชประสงค์ เด็กตายหลายคน การ์ด กปปส. จะเห็นได้ว่าคนที่ต่อต้านและเห็นต่าง ถูกทำร้ายและบาดเจ็บล้มตายมากมายนับพันคน ตึกถูกเผาทำลายเสียหายหลายแสนล้าน แต่ตำรวจยังจับไม่ได้และก็ยังมีหลักฐานมากมายที่ไม่สามารถสร้างความกระจ่างแก่คนทั่วไป จะเห็นได้ว่าพรรคการเมืองนั้นและพวกคนเสื้อแดง แทบจะไม่มีการถูกลอบยิงและลอบทำร้ายไห้เห็น...................ถ้าคุณยังแยกความดีและชั่วไม่ได้ เลิกนับถือศาสนาเถอะเพราะทุกศาสนาสอนให้เป็นคนดี หรือช่วยเหลือคนดีให้ได้อยู่ในสังคมร่วมกันSee More
"ชวนนท์" จี้" ยิ่งลักษณ์" จัดการกบฎแบ่งแยกดินแดน พร้อมเตรียมส่งทีมกฎหมายปชป. ร้องยุบเพื่อไทย หลัง "จารุพงศ์" หนุนแบ่งแยกประเทศ http://bit.ly/1eJVmif
เพชรวรรต วัฒนพงศศิริกุล แกนนำกลุ่ม "รักเชียงใหม่ 51"
จาก ผู้ไม่จงรักภักดีต่อสถาบัน ดูหมิ่นเบื้องสูง มาเป็น กบฏแบ่งแยกประเทศ
เมื่อวันที่ 14 ต.ค.2551 เพชรวรรต วัฒนพงศศิริกุล แกนนำกลุ่ม "รักเชียงใหม่ 51" บริเวณหน้าโรงแรมแกรนด์วโรรส กล่าวปราศรัยชักชวนให้คนเชียงใหม่นับถือเพียงกษัตริย์ 3 พระองค์ บนอนุสาวรีย์สามกษัตริย์เท่านั้น
...
จาก ผู้ไม่จงรักภักดีต่อสถาบัน ดูหมิ่นเบื้องสูง มาเป็น กบฏแบ่งแยกประเทศ
เมื่อวันที่ 14 ต.ค.2551 เพชรวรรต วัฒนพงศศิริกุล แกนนำกลุ่ม "รักเชียงใหม่ 51" บริเวณหน้าโรงแรมแกรนด์วโรรส กล่าวปราศรัยชักชวนให้คนเชียงใหม่นับถือเพียงกษัตริย์ 3 พระองค์ บนอนุสาวรีย์สามกษัตริย์เท่านั้น
...
"ถ้อยคำดังกล่าวกล่าวถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์และควรสักการะ มุ่งตอกย้ำว่า เราเคารพ 3 กษัตริย์ของเราถ้าไปที่อื่นก็จะไปเคารพเฉพาะศาลหลักเมืองเท่านั้น โดยมีข้อความตอนหนึ่งว่า “ส่วนอย่างอื่นอยู่ในอุ้งตีนคนเชียงใหม่หมด”
“เรามีกษัตริย์ของเรา ...เราเป็นเอกราชมา 500 ปี ...เราอาศัยบ้านเมืองเขาอยู่....กษัตริย์ของเราอยู่ในหัวใจตลอด ...อู้นักบ่ได้ (พูดมากไม่ได้)”
จนป่านนี้ 6 ปีแล้ว คดียังไม่มีการสั่งฟ้องต่อศาลอาญา ไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างใด
http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9510000123220
“เรามีกษัตริย์ของเรา ...เราเป็นเอกราชมา 500 ปี ...เราอาศัยบ้านเมืองเขาอยู่....กษัตริย์ของเราอยู่ในหัวใจตลอด ...อู้นักบ่ได้ (พูดมากไม่ได้)”
จนป่านนี้ 6 ปีแล้ว คดียังไม่มีการสั่งฟ้องต่อศาลอาญา ไม่มีความคืบหน้าแต่อย่างใด
http://www.manager.co.th/Local/ViewNews.aspx?NewsID=9510000123220
ว่าด้วยเรื่องกบฎ "โทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิตสำหรับกบฏ"
กบฏในประเทศไทย เกิดขึ้นทั้งหมด 13 ครั้งในยุครัตนโกสินทร์ โดยตามกฎหมายไทย กบฏเป็นความผิดอาญา ฐานกระทำความผิดต่อความมั่นคงของรัฐ ภายในราชอาณาจักร โดยใช้กำลังประทุษร้าย หรือขู่เข็ญ...ว่าจะใช้กำลังประทุษร้าย เพื่อล้มล้าง หรือเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ หรือล้มล้างอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร หรืออำนาจตุลาการ หรืออำนาจอธิปไตยทั้งสาม หรือแบ่งแยกราชอาณาจักร หรือยึดอำนาจปกครอง ในส่วนใดส่วนหนึ่งแห่งราชอาณาจักร เรียกว่า ความผิดฐานเป็นกบฏ และกำหนดโทษสำหรับผู้ก่อการกบฏ ให้ประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิต กรณีที่มีผู้รับโทษประหารชีวิตได้แก่ กบฏ 26 มีนาคม 2520 ซึ่งเป็นหนึ่งในชนวนเหตุที่ทำให้ทหารทำการรัฐประหารรัฐบาล ศ.ธานินทร์ กรัยวิเชียรในเวลาต่อมา
กบฏหลังการยึดการปกครองมี12ครั้งได้แก่
1.กบฏบวรเดช (11 ตุลาคม พ.ศ. 2476) โดย คณะกู้บ้านกู้เมือง มี พลเอกพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เป็นหัวหน้า
2.กบฏนายสิบ (3 สิงหาคม พ.ศ. 2478) โดย สิบเอกสวัสดิ์ มะหะมัด เป็นหัวหน้า
3.กบฏพระยาทรงสุรเดช หรือ กบฏ 18 ศพ หรือ กบฏ พ.ศ. 2481 (29 มกราคม พ.ศ. 2482) มี พันเอกพระยาทรงสุรเดช เป็นหัวหน้า
4.กบฏเสนาธิการ หรือ กบฏนายพล หรือ กบฏ 1 ตุลาคม (1 ตุลาคม พ.ศ. 2491) โดย พลตรีหลวงศรานุชิต (สมบูรณ์ ศรานุชิต) และพลตรีเนตร เขมะโยธิน เป็นหัวหน้า
5.กบฏแบ่งแยกดินแดน (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491)
6.กบฏวังหลวง (26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492) โดย ปรีดี พนมยงค์ เป็นหัวหน้า
7.กบฏแมนฮัตตัน หรือ กบฏทหารเรือ (29 มิถุนายน พ.ศ. 2494) โดย นาวาเอกอานน บุญฑริกธาดา และ นาวาตรีมนัส จารุภา
8.กบฏสันติภาพ (8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2497)
9.กบฏ พ.ศ. 2507 (1 ธันวาคม พ.ศ. 2507) โดย พลอากาศเอกนักรบ บิณศรี เป็นหัวหน้า
10.กบฏ 26 มีนาคม 2520 (26 มีนาคม พ.ศ. 2520) โดย พลเอกฉลาด หิรัญศิริ เป็นหัวหน้า
11.กบฏยังเติร์ก หรือ กบฏเมษาฮาวาย (1-3 เมษายน พ.ศ. 2524) โดย พันเอกมนูญ รูปขจร และพลเอกสัณห์ จิตรปฏิมา เป็นหัวหน้า
12.กบฏทหารนอกราชการ หรือ กบฏ 9 กันยา (9 กันยายน พ.ศ. 2528) โดย พันเอกมนูญ รูปขจร และพลเอกเสริม ณ นคร เป็นหัวหน้า
ครั้งที่13เลขซวยคือกบฏสปป.ลานนา โทษประหารชีวิต หรือจำคุกตลอดชีวิตSee More
● 'ศาลควรเป็นหลัก-ทางออกแก้วิกฤติบ้านเมือง'
'ศาลควรเป็นหลักและทางออกในการแก้วิกฤติบ้านเมือง' : สัมภาษณ์พิเศษ 'หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล' ประธานศาลปกครองสูงสุด โดยโอภาส บุญล้อม
ท่ามกลางวิกฤติของบ้านเมืองในขณะนี้ "เครือเนชั่น" ไ...ด้มีโอกาสพูดคุยกับ "หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล" ประธานศาลปกครองสูงสุด ซึ่งมีมุมมองและเสนอทางออกของบ้านเมืองไว้อย่างน่าสนใจ โดยเห็นว่า "สถาบันศาล" ซึ่งเป็นองค์กรหลัก จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ และเป็น "ทางออกที่ดีที่สุด" ส่วนกรณีที่มีคนกลุ่มหนึ่งมีความคิดแบ่งแยกประเทศ เขาเชื่อว่าคนส่วนใหญ่ไม่อยากเห็น
ทางออกของประเทศที่กำลังวิกฤติอยู่ในขณะนี้ ท่านเห็นว่ามีแนวทางไหนบ้าง
มันจะต้องมีการร้องต่อองค์กรหลักของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้บ้านเมืองสงบได้ ผมเห็นว่า "ศาล" ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการทุกศาล ควรเป็นหลักให้แก่บ้านเมือง อำนวยความยุติธรรมที่ถูกต้อง เพียงแต่ว่าศาลต้องตัดสินคดีบนพื้นฐานของกฎหมาย และการตัดสินคดีต้องตรงไปตรงมาและเป็นกลาง ไม่อิงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และเหตุผลของศาลต้องอธิบายคนทั่วไปได้ว่าทำไมจึงตัดสินเช่นนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้สังคมก็จะเรียกร้องให้องค์กรหลักเข้ามาทำหน้าที่แก้ไขปัญหาบ้านเมืองและทุกฝ่ายก็จะยอมรับคำตัดสิน ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดการใช้ความรุนแรงและการใช้กำลังและไม่ใช่การสร้างองค์กรขึ้นมาใหม่เพื่อแก้ไขปัญหา เพราะจะมีคำถามตามมาว่า องค์กรใหม่ ประกอบด้วยใครบ้างและมาจากไหน แต่องค์กรที่เป็นหลัก เช่นศาล ไม่ได้มีอำนาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวได้ด้วยตัวเอง ศาลจะมีอำนาจวินิจฉัยคดีได้ก็ต่อเมื่อมีการฟ้องคดี แต่โดยสภาพของการทะเลาะ เถียงกัน ทุกฝ่ายโดยธรรมชาติ คงไม่มีใครอยากเถียงหรือทะเลาะกันโดยไม่เลิกรา ก็ต้องหาทางออก มาฟ้องศาล
"แต่ตอนนี้ที่เห็นแค่เริ่มฟ้องคดีก็ต่อต้านแล้ว มีการยิงที่ทำการศาล ผมไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น น่าคิดว่า ทำไมคนไทยขาดความอดทนในการยอมรับความคิดเห็นไม่ตรงกับตนเองมากขึ้น"
ศาลปกครองจะมีบทบาทอย่างไร
ศาลปกครองต้องตัดสินคดีบนพื้นฐานของกฎหมายและต้องมีเหตุผลในคำตัดสินที่อธิบายได้ ซึ่งเรื่องนี้เราได้พูดกับตุลาการศาลปกครองเสมอว่า ไม่สามารถไปห้ามความคิดทางการเมืองของตุลาการ แต่ละคนได้ แต่ความคิดทางการเมืองนั้น ไม่ควรนำมาเสนอต่อที่สาธารณะและไม่ควรนำมาเป็นปัจจัยในการทำหน้าที่ตุลาการ ผมได้เน้นกับตุลาการว่า ต้องการให้ศาลปกครองเป็นเสาหลักให้บ้านเมือง เพราะถ้าทั้งประเทศไม่มีองค์กรที่จะเป็นหลักให้บ้านเมืองได้ ปัญหาจะแก้อย่างไร เมื่อตกลงเจรจากันไม่ได้ก็ใช้ความรุนแรง ทำให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งไม่มีใครปรารถนา
มีหวังหรือไม่ที่ทุกฝ่ายจะหันมายอมรับคำตัดสินของศาลเป็นตัวชี้ขาด
มีหวัง แต่จะนั่งหวังโดยไม่ทำอะไรเลยก็ไม่ได้เช่นกัน ผมคิดว่าความเห็นต่างที่มาถึงขั้นยอมรับความเห็นของฝ่ายอีกหนึ่งไม่ได้ มันไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ค่อยๆ สะสมตัวของมันขึ้นมา ดังนั้นจะไปบังคับให้คนมีความคิดเหมือนกันฉับพลันทันใดคงไม่ได้ ต้องใช้เวลา
การใช้วิธีการเจรจาจะเป็นทางออกปัญหาวิกฤติในขณะนี้ได้หรือไม่
จะเจรจากันอย่างไร ผมก็อยากให้ปัญหายุติ แต่ผมมองว่าคงยุติยาก จะเจรจากันอย่างไร ฝ่ายหนึ่งดำ ฝ่ายหนึ่งขาว จะเจรจาให้เป็นอะไร เป็นสีเทา หรือให้เป็นสีขาวหรือให้เป็นสีดำ ถ้าเจรจาแล้วบอกว่า สีดำออกไปเหลือแต่สีขาวอย่างเดียว สีดำคงไม่ยอม หรือสีขาวออกไปเหลือแต่สีดำ สีขาวก็ไม่ยอม การเจรจาเห็นได้ชัดเลยคือการประนีประนอม คือเป็นสีเทา ถามว่ามันถูกหรือเปล่า พูดให้เป็นรูปธรรมกว่านี้ เช่นว่า ฝ่ายหนึ่งโกงกับอีกฝ่ายหนึ่งไม่โกง ถามว่าจะเจรจากันอย่างไรระหว่างฝ่ายที่โกงกับไม่โกง ถ้าเป็นสีเทาหมายความว่า โกงได้บ้าง ต้องถามสังคมว่ายอมรับได้หรือไม่
"สังคมไทยในหลายปีนี้เปลี่ยนไปมาก ที่ว่าโกงไม่เป็นไรแต่ช่วยหรือแบ่งให้เราบ้าง ความคิดนี้ทำให้สังคมไทยแย่ลงไปเรื่อยๆ มันกลายเป็นว่า การโกงหรือคอร์รัปชั่นไม่ต้องปราบปราม"
ตอนนี้มีความคิดถึงการแบ่งประเทศแล้วทำได้หรือไม่
ความคิดนี้ไปไกลไปหน่อย ไม่ควรปล่อยไปไกลอย่างนี้ และมันคงยากที่จะให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยอมรับ ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่ของประเทศคงไม่มีใครอยากให้ปัญหาความขัดแย้งมันพัฒนาเลวร้ายมากไปถึงระดับแบ่งแยกประเทศ เพราะผมเชื่อมั่นว่า ในลึกๆ ทุกคนยังมีความรู้สึกเป็นไทย แต่ทำไมถึงมีความคิดอย่างนั้น ผมไม่เข้าใจเหมือนกัน อยากให้คนที่มีความคิดอย่างนี้กลับไปคิดอีกที
"การแบ่งแยกประเทศทำไม่ได้ เพราะรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว ซึ่งหมายถึงแบ่งแยกไม่ได้อยู่แล้ว"
แก้ไขรัฐธรรมนูญในมาตราที่กำหนดว่าประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว โดยการทำประชามติได้หรือไม่
การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติถึงรูปแบบของรัฐว่าเป็นรัฐเดี่ยวนั้น เป็นหลักโครงสร้างของรัฐธรรมนูญ ดังนั้นถ้าแก้ไขหลักที่เป็นโครงสร้างของรัฐธรรมนูญก็เท่ากับแก้ไขโครงสร้างของรัฐธรรมนูญทั้งระบบหรือทั้งหมด ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ ต่างจากการแก้ไขบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในส่วนที่เป็นเรื่องพื้นฐานทั่วไป ที่สำคัญไม่เท่าเรื่องที่เป็นโครงสร้าง มันซีเรียสกว่ากันเยอะ ดังนั้นขั้นตอนกลไกในการแก้ไขมีเยอะ
"เรื่องนี้หากจะแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องทำประชามติ ถามความเห็นประชาชนทั้งหมดว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร ไม่ใช่เพียงความคิดของคนแค่กลุ่มหนึ่งหรือคนไม่กี่คนที่มีความคิดดังกล่าวแล้วจะทำสิ่งนั้นได้ แต่ผมคิดว่าแม้จะมีการพูดถึงประเด็นนี้ แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะทำหรือจะปล่อยให้ทำ เพราะกระทบต่อความมั่นคงแน่นอนเพราะอำนาจอธิปไตยมีเหนือดินแดนที่เป็นอาณาเขตของประเทศทั้งหมด ดังนั้นการที่มีคนคิดแบ่งอาณาเขตของประเทศออกไปจึงกระทบต่ออำนาจอธิปไตยของประเทศนั้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องของความมั่นคง จึงไม่มีประเทศไหนยอมได้ง่ายๆ
คนที่มีความคิดนี้อ้างว่า ขณะนี้มีความแตกแยกกันมาก อยู่กันไม่ได้แล้ว จึงต้องแยกประเทศกันไปเลย ต่างคนต่างอยู่ ฟังขึ้นหรือไม่
ผมไม่คิดว่ามันจะแตกแยกกระทั่งพูดกันไม่ได้ ผมอยากให้แต่ละคนกลับมาหวนคิดมองถึงความคิดของตนเองว่า มันเป็นอย่างนั้นแล้วหรือ ผมว่าจริงๆ แล้วเป็นเพราะแต่ละคนมีความอดทนต่อคนอื่นน้อยไป ต้องถามตัวเองว่า คนอื่นทำถึงขนาดทำให้เราอดทนไม่ได้จริงหรือเปล่า อยากให้ทุกคนคิดอย่างนั้น ถามว่าที่ทะเลาะกันอยู่ตอนนี้ บางคนเคยเจอหน้ากันหรือไม่ บางคนเคยทะเลาะกันส่วนตัวหรือไม่ เคยรู้จักกันมาก่อนหรือไม่ ไม่เลย แต่ทำไมจึงคิดจะใช้ความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหาดังกล่าว ก็เพราะขาดสติ ผมจึงอยากให้ทุกคน ไม่ใช่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกลับไปคิดและใช้สติว่า สิ่งที่ทำอยู่มันจริงหรือไม่จริง
ตอนนี้คดีที่เกี่ยวกับฝ่ายบริหารในศาลปกครองมีอะไรบ้าง
มีเยอะ แต่ที่อยู่ในความสนใจของประชาชน มี 2-3 คดี คือ 1.คดีโยกย้ายนายถวิล เปลี่ยนศรี ที่ถูกย้ายจากตำแหน่งเลขาฯ สมช. ซึ่งศาลปกครองสูงสุดจะอ่านคำพิพากษาในวันที่ 7 มีนาคมนี้ 2.คดีบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 3.5 แสนล้านบาท ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด เนื้อหาคดีเป็นเรื่องใหญ่ ต้องใช้ระยะเวลาพิจารณาอีกระยะหนึ่ง ส่วนอีกคดีเกี่ยวกับการจำนำข้าว มีการฟ้องที่ศาลปกครองชั้นต้นและศาลได้รับไว้พิจารณาแล้ว
# คมชัดลึก
● 'ศาลควรเป็นหลัก-ทางออกแก้วิกฤติบ้านเมือง'
'ศาลควรเป็นหลักและทางออกในการแก้วิกฤติบ้านเมือง' : สัมภาษณ์พิเศษ 'หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล' ประธานศาลปกครองสูงสุด โดยโอภาส บุญล้อม
ท่ามกลางวิกฤติของบ้านเมืองในขณะนี้ "เครือเนชั่น" ไ...ด้มีโอกาสพูดคุยกับ "หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล" ประธานศาลปกครองสูงสุด ซึ่งมีมุมมองและเสนอทางออกของบ้านเมืองไว้อย่างน่าสนใจ โดยเห็นว่า "สถาบันศาล" ซึ่งเป็นองค์กรหลัก จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ และเป็น "ทางออกที่ดีที่สุด" ส่วนกรณีที่มีคนกลุ่มหนึ่งมีความคิดแบ่งแยกประเทศ เขาเชื่อว่าคนส่วนใหญ่ไม่อยากเห็น
ทางออกของประเทศที่กำลังวิกฤติอยู่ในขณะนี้ ท่านเห็นว่ามีแนวทางไหนบ้าง
มันจะต้องมีการร้องต่อองค์กรหลักของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้บ้านเมืองสงบได้ ผมเห็นว่า "ศาล" ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการทุกศาล ควรเป็นหลักให้แก่บ้านเมือง อำนวยความยุติธรรมที่ถูกต้อง เพียงแต่ว่าศาลต้องตัดสินคดีบนพื้นฐานของกฎหมาย และการตัดสินคดีต้องตรงไปตรงมาและเป็นกลาง ไม่อิงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และเหตุผลของศาลต้องอธิบายคนทั่วไปได้ว่าทำไมจึงตัดสินเช่นนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้สังคมก็จะเรียกร้องให้องค์กรหลักเข้ามาทำหน้าที่แก้ไขปัญหาบ้านเมืองและทุกฝ่ายก็จะยอมรับคำตัดสิน ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดการใช้ความรุนแรงและการใช้กำลังและไม่ใช่การสร้างองค์กรขึ้นมาใหม่เพื่อแก้ไขปัญหา เพราะจะมีคำถามตามมาว่า องค์กรใหม่ ประกอบด้วยใครบ้างและมาจากไหน แต่องค์กรที่เป็นหลัก เช่นศาล ไม่ได้มีอำนาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวได้ด้วยตัวเอง ศาลจะมีอำนาจวินิจฉัยคดีได้ก็ต่อเมื่อมีการฟ้องคดี แต่โดยสภาพของการทะเลาะ เถียงกัน ทุกฝ่ายโดยธรรมชาติ คงไม่มีใครอยากเถียงหรือทะเลาะกันโดยไม่เลิกรา ก็ต้องหาทางออก มาฟ้องศาล
"แต่ตอนนี้ที่เห็นแค่เริ่มฟ้องคดีก็ต่อต้านแล้ว มีการยิงที่ทำการศาล ผมไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น น่าคิดว่า ทำไมคนไทยขาดความอดทนในการยอมรับความคิดเห็นไม่ตรงกับตนเองมากขึ้น"
ศาลปกครองจะมีบทบาทอย่างไร
ศาลปกครองต้องตัดสินคดีบนพื้นฐานของกฎหมายและต้องมีเหตุผลในคำตัดสินที่อธิบายได้ ซึ่งเรื่องนี้เราได้พูดกับตุลาการศาลปกครองเสมอว่า ไม่สามารถไปห้ามความคิดทางการเมืองของตุลาการ แต่ละคนได้ แต่ความคิดทางการเมืองนั้น ไม่ควรนำมาเสนอต่อที่สาธารณะและไม่ควรนำมาเป็นปัจจัยในการทำหน้าที่ตุลาการ ผมได้เน้นกับตุลาการว่า ต้องการให้ศาลปกครองเป็นเสาหลักให้บ้านเมือง เพราะถ้าทั้งประเทศไม่มีองค์กรที่จะเป็นหลักให้บ้านเมืองได้ ปัญหาจะแก้อย่างไร เมื่อตกลงเจรจากันไม่ได้ก็ใช้ความรุนแรง ทำให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งไม่มีใครปรารถนา
มีหวังหรือไม่ที่ทุกฝ่ายจะหันมายอมรับคำตัดสินของศาลเป็นตัวชี้ขาด
มีหวัง แต่จะนั่งหวังโดยไม่ทำอะไรเลยก็ไม่ได้เช่นกัน ผมคิดว่าความเห็นต่างที่มาถึงขั้นยอมรับความเห็นของฝ่ายอีกหนึ่งไม่ได้ มันไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ค่อยๆ สะสมตัวของมันขึ้นมา ดังนั้นจะไปบังคับให้คนมีความคิดเหมือนกันฉับพลันทันใดคงไม่ได้ ต้องใช้เวลา
การใช้วิธีการเจรจาจะเป็นทางออกปัญหาวิกฤติในขณะนี้ได้หรือไม่
จะเจรจากันอย่างไร ผมก็อยากให้ปัญหายุติ แต่ผมมองว่าคงยุติยาก จะเจรจากันอย่างไร ฝ่ายหนึ่งดำ ฝ่ายหนึ่งขาว จะเจรจาให้เป็นอะไร เป็นสีเทา หรือให้เป็นสีขาวหรือให้เป็นสีดำ ถ้าเจรจาแล้วบอกว่า สีดำออกไปเหลือแต่สีขาวอย่างเดียว สีดำคงไม่ยอม หรือสีขาวออกไปเหลือแต่สีดำ สีขาวก็ไม่ยอม การเจรจาเห็นได้ชัดเลยคือการประนีประนอม คือเป็นสีเทา ถามว่ามันถูกหรือเปล่า พูดให้เป็นรูปธรรมกว่านี้ เช่นว่า ฝ่ายหนึ่งโกงกับอีกฝ่ายหนึ่งไม่โกง ถามว่าจะเจรจากันอย่างไรระหว่างฝ่ายที่โกงกับไม่โกง ถ้าเป็นสีเทาหมายความว่า โกงได้บ้าง ต้องถามสังคมว่ายอมรับได้หรือไม่
"สังคมไทยในหลายปีนี้เปลี่ยนไปมาก ที่ว่าโกงไม่เป็นไรแต่ช่วยหรือแบ่งให้เราบ้าง ความคิดนี้ทำให้สังคมไทยแย่ลงไปเรื่อยๆ มันกลายเป็นว่า การโกงหรือคอร์รัปชั่นไม่ต้องปราบปราม"
ตอนนี้มีความคิดถึงการแบ่งประเทศแล้วทำได้หรือไม่
ความคิดนี้ไปไกลไปหน่อย ไม่ควรปล่อยไปไกลอย่างนี้ และมันคงยากที่จะให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยอมรับ ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่ของประเทศคงไม่มีใครอยากให้ปัญหาความขัดแย้งมันพัฒนาเลวร้ายมากไปถึงระดับแบ่งแยกประเทศ เพราะผมเชื่อมั่นว่า ในลึกๆ ทุกคนยังมีความรู้สึกเป็นไทย แต่ทำไมถึงมีความคิดอย่างนั้น ผมไม่เข้าใจเหมือนกัน อยากให้คนที่มีความคิดอย่างนี้กลับไปคิดอีกที
"การแบ่งแยกประเทศทำไม่ได้ เพราะรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว ซึ่งหมายถึงแบ่งแยกไม่ได้อยู่แล้ว"
แก้ไขรัฐธรรมนูญในมาตราที่กำหนดว่าประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว โดยการทำประชามติได้หรือไม่
การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติถึงรูปแบบของรัฐว่าเป็นรัฐเดี่ยวนั้น เป็นหลักโครงสร้างของรัฐธรรมนูญ ดังนั้นถ้าแก้ไขหลักที่เป็นโครงสร้างของรัฐธรรมนูญก็เท่ากับแก้ไขโครงสร้างของรัฐธรรมนูญทั้งระบบหรือทั้งหมด ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ ต่างจากการแก้ไขบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในส่วนที่เป็นเรื่องพื้นฐานทั่วไป ที่สำคัญไม่เท่าเรื่องที่เป็นโครงสร้าง มันซีเรียสกว่ากันเยอะ ดังนั้นขั้นตอนกลไกในการแก้ไขมีเยอะ
"เรื่องนี้หากจะแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องทำประชามติ ถามความเห็นประชาชนทั้งหมดว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร ไม่ใช่เพียงความคิดของคนแค่กลุ่มหนึ่งหรือคนไม่กี่คนที่มีความคิดดังกล่าวแล้วจะทำสิ่งนั้นได้ แต่ผมคิดว่าแม้จะมีการพูดถึงประเด็นนี้ แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะทำหรือจะปล่อยให้ทำ เพราะกระทบต่อความมั่นคงแน่นอนเพราะอำนาจอธิปไตยมีเหนือดินแดนที่เป็นอาณาเขตของประเทศทั้งหมด ดังนั้นการที่มีคนคิดแบ่งอาณาเขตของประเทศออกไปจึงกระทบต่ออำนาจอธิปไตยของประเทศนั้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องของความมั่นคง จึงไม่มีประเทศไหนยอมได้ง่ายๆ
คนที่มีความคิดนี้อ้างว่า ขณะนี้มีความแตกแยกกันมาก อยู่กันไม่ได้แล้ว จึงต้องแยกประเทศกันไปเลย ต่างคนต่างอยู่ ฟังขึ้นหรือไม่
ผมไม่คิดว่ามันจะแตกแยกกระทั่งพูดกันไม่ได้ ผมอยากให้แต่ละคนกลับมาหวนคิดมองถึงความคิดของตนเองว่า มันเป็นอย่างนั้นแล้วหรือ ผมว่าจริงๆ แล้วเป็นเพราะแต่ละคนมีความอดทนต่อคนอื่นน้อยไป ต้องถามตัวเองว่า คนอื่นทำถึงขนาดทำให้เราอดทนไม่ได้จริงหรือเปล่า อยากให้ทุกคนคิดอย่างนั้น ถามว่าที่ทะเลาะกันอยู่ตอนนี้ บางคนเคยเจอหน้ากันหรือไม่ บางคนเคยทะเลาะกันส่วนตัวหรือไม่ เคยรู้จักกันมาก่อนหรือไม่ ไม่เลย แต่ทำไมจึงคิดจะใช้ความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหาดังกล่าว ก็เพราะขาดสติ ผมจึงอยากให้ทุกคน ไม่ใช่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกลับไปคิดและใช้สติว่า สิ่งที่ทำอยู่มันจริงหรือไม่จริง
ตอนนี้คดีที่เกี่ยวกับฝ่ายบริหารในศาลปกครองมีอะไรบ้าง
มีเยอะ แต่ที่อยู่ในความสนใจของประชาชน มี 2-3 คดี คือ 1.คดีโยกย้ายนายถวิล เปลี่ยนศรี ที่ถูกย้ายจากตำแหน่งเลขาฯ สมช. ซึ่งศาลปกครองสูงสุดจะอ่านคำพิพากษาในวันที่ 7 มีนาคมนี้ 2.คดีบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 3.5 แสนล้านบาท ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด เนื้อหาคดีเป็นเรื่องใหญ่ ต้องใช้ระยะเวลาพิจารณาอีกระยะหนึ่ง ส่วนอีกคดีเกี่ยวกับการจำนำข้าว มีการฟ้องที่ศาลปกครองชั้นต้นและศาลได้รับไว้พิจารณาแล้ว
# คมชัดลึก
'ศาลควรเป็นหลักและทางออกในการแก้วิกฤติบ้านเมือง' : สัมภาษณ์พิเศษ 'หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล' ประธานศาลปกครองสูงสุด โดยโอภาส บุญล้อม
ท่ามกลางวิกฤติของบ้านเมืองในขณะนี้ "เครือเนชั่น" ไ...ด้มีโอกาสพูดคุยกับ "หัสวุฒิ วิฑิตวิริยกุล" ประธานศาลปกครองสูงสุด ซึ่งมีมุมมองและเสนอทางออกของบ้านเมืองไว้อย่างน่าสนใจ โดยเห็นว่า "สถาบันศาล" ซึ่งเป็นองค์กรหลัก จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ และเป็น "ทางออกที่ดีที่สุด" ส่วนกรณีที่มีคนกลุ่มหนึ่งมีความคิดแบ่งแยกประเทศ เขาเชื่อว่าคนส่วนใหญ่ไม่อยากเห็น
ทางออกของประเทศที่กำลังวิกฤติอยู่ในขณะนี้ ท่านเห็นว่ามีแนวทางไหนบ้าง
มันจะต้องมีการร้องต่อองค์กรหลักของบ้านเมือง ซึ่งจะทำให้บ้านเมืองสงบได้ ผมเห็นว่า "ศาล" ซึ่งเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการทุกศาล ควรเป็นหลักให้แก่บ้านเมือง อำนวยความยุติธรรมที่ถูกต้อง เพียงแต่ว่าศาลต้องตัดสินคดีบนพื้นฐานของกฎหมาย และการตัดสินคดีต้องตรงไปตรงมาและเป็นกลาง ไม่อิงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง และเหตุผลของศาลต้องอธิบายคนทั่วไปได้ว่าทำไมจึงตัดสินเช่นนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้สังคมก็จะเรียกร้องให้องค์กรหลักเข้ามาทำหน้าที่แก้ไขปัญหาบ้านเมืองและทุกฝ่ายก็จะยอมรับคำตัดสิน ซึ่งจะทำให้ไม่เกิดการใช้ความรุนแรงและการใช้กำลังและไม่ใช่การสร้างองค์กรขึ้นมาใหม่เพื่อแก้ไขปัญหา เพราะจะมีคำถามตามมาว่า องค์กรใหม่ ประกอบด้วยใครบ้างและมาจากไหน แต่องค์กรที่เป็นหลัก เช่นศาล ไม่ได้มีอำนาจเข้าไปยุ่งเกี่ยวได้ด้วยตัวเอง ศาลจะมีอำนาจวินิจฉัยคดีได้ก็ต่อเมื่อมีการฟ้องคดี แต่โดยสภาพของการทะเลาะ เถียงกัน ทุกฝ่ายโดยธรรมชาติ คงไม่มีใครอยากเถียงหรือทะเลาะกันโดยไม่เลิกรา ก็ต้องหาทางออก มาฟ้องศาล
"แต่ตอนนี้ที่เห็นแค่เริ่มฟ้องคดีก็ต่อต้านแล้ว มีการยิงที่ทำการศาล ผมไม่รู้ว่าเกิดอะไรขึ้น น่าคิดว่า ทำไมคนไทยขาดความอดทนในการยอมรับความคิดเห็นไม่ตรงกับตนเองมากขึ้น"
ศาลปกครองจะมีบทบาทอย่างไร
ศาลปกครองต้องตัดสินคดีบนพื้นฐานของกฎหมายและต้องมีเหตุผลในคำตัดสินที่อธิบายได้ ซึ่งเรื่องนี้เราได้พูดกับตุลาการศาลปกครองเสมอว่า ไม่สามารถไปห้ามความคิดทางการเมืองของตุลาการ แต่ละคนได้ แต่ความคิดทางการเมืองนั้น ไม่ควรนำมาเสนอต่อที่สาธารณะและไม่ควรนำมาเป็นปัจจัยในการทำหน้าที่ตุลาการ ผมได้เน้นกับตุลาการว่า ต้องการให้ศาลปกครองเป็นเสาหลักให้บ้านเมือง เพราะถ้าทั้งประเทศไม่มีองค์กรที่จะเป็นหลักให้บ้านเมืองได้ ปัญหาจะแก้อย่างไร เมื่อตกลงเจรจากันไม่ได้ก็ใช้ความรุนแรง ทำให้เกิดความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน ซึ่งไม่มีใครปรารถนา
มีหวังหรือไม่ที่ทุกฝ่ายจะหันมายอมรับคำตัดสินของศาลเป็นตัวชี้ขาด
มีหวัง แต่จะนั่งหวังโดยไม่ทำอะไรเลยก็ไม่ได้เช่นกัน ผมคิดว่าความเห็นต่างที่มาถึงขั้นยอมรับความเห็นของฝ่ายอีกหนึ่งไม่ได้ มันไม่ได้เกิดขึ้นอย่างฉับพลัน แต่ค่อยๆ สะสมตัวของมันขึ้นมา ดังนั้นจะไปบังคับให้คนมีความคิดเหมือนกันฉับพลันทันใดคงไม่ได้ ต้องใช้เวลา
การใช้วิธีการเจรจาจะเป็นทางออกปัญหาวิกฤติในขณะนี้ได้หรือไม่
จะเจรจากันอย่างไร ผมก็อยากให้ปัญหายุติ แต่ผมมองว่าคงยุติยาก จะเจรจากันอย่างไร ฝ่ายหนึ่งดำ ฝ่ายหนึ่งขาว จะเจรจาให้เป็นอะไร เป็นสีเทา หรือให้เป็นสีขาวหรือให้เป็นสีดำ ถ้าเจรจาแล้วบอกว่า สีดำออกไปเหลือแต่สีขาวอย่างเดียว สีดำคงไม่ยอม หรือสีขาวออกไปเหลือแต่สีดำ สีขาวก็ไม่ยอม การเจรจาเห็นได้ชัดเลยคือการประนีประนอม คือเป็นสีเทา ถามว่ามันถูกหรือเปล่า พูดให้เป็นรูปธรรมกว่านี้ เช่นว่า ฝ่ายหนึ่งโกงกับอีกฝ่ายหนึ่งไม่โกง ถามว่าจะเจรจากันอย่างไรระหว่างฝ่ายที่โกงกับไม่โกง ถ้าเป็นสีเทาหมายความว่า โกงได้บ้าง ต้องถามสังคมว่ายอมรับได้หรือไม่
"สังคมไทยในหลายปีนี้เปลี่ยนไปมาก ที่ว่าโกงไม่เป็นไรแต่ช่วยหรือแบ่งให้เราบ้าง ความคิดนี้ทำให้สังคมไทยแย่ลงไปเรื่อยๆ มันกลายเป็นว่า การโกงหรือคอร์รัปชั่นไม่ต้องปราบปราม"
ตอนนี้มีความคิดถึงการแบ่งประเทศแล้วทำได้หรือไม่
ความคิดนี้ไปไกลไปหน่อย ไม่ควรปล่อยไปไกลอย่างนี้ และมันคงยากที่จะให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งยอมรับ ผมคิดว่าคนส่วนใหญ่ของประเทศคงไม่มีใครอยากให้ปัญหาความขัดแย้งมันพัฒนาเลวร้ายมากไปถึงระดับแบ่งแยกประเทศ เพราะผมเชื่อมั่นว่า ในลึกๆ ทุกคนยังมีความรู้สึกเป็นไทย แต่ทำไมถึงมีความคิดอย่างนั้น ผมไม่เข้าใจเหมือนกัน อยากให้คนที่มีความคิดอย่างนี้กลับไปคิดอีกที
"การแบ่งแยกประเทศทำไม่ได้ เพราะรัฐธรรมนูญบัญญัติว่าประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว ซึ่งหมายถึงแบ่งแยกไม่ได้อยู่แล้ว"
แก้ไขรัฐธรรมนูญในมาตราที่กำหนดว่าประเทศไทยเป็นรัฐเดี่ยว โดยการทำประชามติได้หรือไม่
การที่รัฐธรรมนูญบัญญัติถึงรูปแบบของรัฐว่าเป็นรัฐเดี่ยวนั้น เป็นหลักโครงสร้างของรัฐธรรมนูญ ดังนั้นถ้าแก้ไขหลักที่เป็นโครงสร้างของรัฐธรรมนูญก็เท่ากับแก้ไขโครงสร้างของรัฐธรรมนูญทั้งระบบหรือทั้งหมด ซึ่งเป็นเรื่องใหญ่ ต่างจากการแก้ไขบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญในส่วนที่เป็นเรื่องพื้นฐานทั่วไป ที่สำคัญไม่เท่าเรื่องที่เป็นโครงสร้าง มันซีเรียสกว่ากันเยอะ ดังนั้นขั้นตอนกลไกในการแก้ไขมีเยอะ
"เรื่องนี้หากจะแก้ไขรัฐธรรมนูญต้องทำประชามติ ถามความเห็นประชาชนทั้งหมดว่าเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยอย่างไร ไม่ใช่เพียงความคิดของคนแค่กลุ่มหนึ่งหรือคนไม่กี่คนที่มีความคิดดังกล่าวแล้วจะทำสิ่งนั้นได้ แต่ผมคิดว่าแม้จะมีการพูดถึงประเด็นนี้ แต่ไม่ใช่เรื่องง่ายที่จะทำหรือจะปล่อยให้ทำ เพราะกระทบต่อความมั่นคงแน่นอนเพราะอำนาจอธิปไตยมีเหนือดินแดนที่เป็นอาณาเขตของประเทศทั้งหมด ดังนั้นการที่มีคนคิดแบ่งอาณาเขตของประเทศออกไปจึงกระทบต่ออำนาจอธิปไตยของประเทศนั้นๆ ซึ่งเป็นเรื่องของความมั่นคง จึงไม่มีประเทศไหนยอมได้ง่ายๆ
คนที่มีความคิดนี้อ้างว่า ขณะนี้มีความแตกแยกกันมาก อยู่กันไม่ได้แล้ว จึงต้องแยกประเทศกันไปเลย ต่างคนต่างอยู่ ฟังขึ้นหรือไม่
ผมไม่คิดว่ามันจะแตกแยกกระทั่งพูดกันไม่ได้ ผมอยากให้แต่ละคนกลับมาหวนคิดมองถึงความคิดของตนเองว่า มันเป็นอย่างนั้นแล้วหรือ ผมว่าจริงๆ แล้วเป็นเพราะแต่ละคนมีความอดทนต่อคนอื่นน้อยไป ต้องถามตัวเองว่า คนอื่นทำถึงขนาดทำให้เราอดทนไม่ได้จริงหรือเปล่า อยากให้ทุกคนคิดอย่างนั้น ถามว่าที่ทะเลาะกันอยู่ตอนนี้ บางคนเคยเจอหน้ากันหรือไม่ บางคนเคยทะเลาะกันส่วนตัวหรือไม่ เคยรู้จักกันมาก่อนหรือไม่ ไม่เลย แต่ทำไมจึงคิดจะใช้ความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหาดังกล่าว ก็เพราะขาดสติ ผมจึงอยากให้ทุกคน ไม่ใช่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งกลับไปคิดและใช้สติว่า สิ่งที่ทำอยู่มันจริงหรือไม่จริง
ตอนนี้คดีที่เกี่ยวกับฝ่ายบริหารในศาลปกครองมีอะไรบ้าง
มีเยอะ แต่ที่อยู่ในความสนใจของประชาชน มี 2-3 คดี คือ 1.คดีโยกย้ายนายถวิล เปลี่ยนศรี ที่ถูกย้ายจากตำแหน่งเลขาฯ สมช. ซึ่งศาลปกครองสูงสุดจะอ่านคำพิพากษาในวันที่ 7 มีนาคมนี้ 2.คดีบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ 3.5 แสนล้านบาท ซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลปกครองสูงสุด เนื้อหาคดีเป็นเรื่องใหญ่ ต้องใช้ระยะเวลาพิจารณาอีกระยะหนึ่ง ส่วนอีกคดีเกี่ยวกับการจำนำข้าว มีการฟ้องที่ศาลปกครองชั้นต้นและศาลได้รับไว้พิจารณาแล้ว
# คมชัดลึก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น